วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556

sappha 20756




  • โครงงานบูรณาการ 8 กลุ่มสาระ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
    เรื่อง “ วัฒนธรรมท้องถิ่นในอำเภอแม่สอด 
    ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

    1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
    มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน

    2. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
              มาตรฐาน ค 1.1 ม.2/5 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
              มาตรฐาน ค 5.1 ม. 2/10 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล

    3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
              มาตรฐาน ท 2.1 ม.2/5 เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
              มาตรฐาน ท 5.1 ม. 2/4 สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน

    4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
              มาตรฐาน ส 3.1 ม.2/2 อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ
    มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธิการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
    ตัวชี้วัด  ม.2/1 ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ
    ม.2/2 วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของทางประวัติศาสตร์
    ม.2/3 เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ

    5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
    สาระที่  1     ภาษาเพื่อการสื่อสาร
    มาตรฐาน  ต  1.3     นำเสนอข้อมูลข่าวสาร  ความคิดรวบยอด  และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน
    สาระที่  3     ภาษากับความสัมพันธ์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
    มาตรฐาน  ต  3.1    ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น  และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา  แสวงหาความรู้  และเปิดโลกทัศน์ของตน



    6. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
    สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
    มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
    ระบุปจจัยที่มีผลกระทบตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการดานรางกายจิตใจ อารมณสังคม และสติปัญญาในวัยรุน

    7. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
              มาตรฐาน ศ 3.2   เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

    8. กลุ่มสาระกาเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
              มาตรฐาน ง 1.1 ม.2/1 สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    มาตรฐาน ง  3.1 เข้าใจ   เห็นคุณค่า    และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้    การสื่อสาร  การแก้ปัญหา การทำงาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล   และมีคุณธรรม

    9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว
    มาตรฐานการเรียนรู้ที่ 3 ผู้เรียนสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

              ตัวชี้วัด 3.2 มีทักษะสามารถปรับตัวให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข


    การตั้งถิ่นฐาน

    แม่สอดเป็นเมืองอยู่ทางซีกตะวันตกของแม่น้ำปิง ประวัติความเป็นมามีหลักฐานว่าเมื่อประมาณ 120 ปีที่ล่วงมา (ประมาณปี พ.ศ. 2404-2405) บริเวณที่ตั้งอำเภอหรือชุมชนใหญ่ของอำเภอในปัจจุบันนี้ ได้มีชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงตั้งถิ่นฐานทำมาหากินอยู่ เรียกชื่อหมู่บ้านว่า "บ้านพะหน่อแก" ต่อมามีคนไทยจากถิ่นอื่นหลายท้องที่ทางภาคเหนือได้แก่ชาวอำเภอเถิน จังหวัดลำปาง (ชาวอำเภอเถินยังอพยพไปอำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัยอีกด้วย) พากันอพยพลงมาทำมาหากิจในบริเวณหมู่บ้านนี้เป็นจำนวนมาก และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้ชาวกะเหรี่ยงเจ้าของถิ่นฐานเดิมซึ่งไม่ชอบอยู่ปะปนกับชนเผ่าอื่นต้องพากันอพยพไปอยู่ที่อื่น หมู่บ้านแห่งนี้ได้เจริญขึ้นตามลำดับ จนทางราชการได้ย้ายด่านเก็บภาษีอากรจากบ้านแม่ละเมา มาอยู่ที่หมู่บ้านพะหน่อแกแห่งนี้ จนถึงปี พ.ศ. 2441 ทางราชการจึงได้ยกฐานะหมู่บ้านขึ้นเป็นอำเภอ เรียกชื่อว่า อำเภอแม่สอด ให้อยู่ในเขตปกครองของมณฑลนครสวรรค์ ต่อมาเมื่อมีการมีการปรับปรุงแก้ไขระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค อำเภอแม่สอดจึงได้เปลี่ยนมาขึ้นกับจังหวัดตาก
    สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แม่สอดเป็นเมืองในหุบเขาตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบแม่สอด โดยเมื่อประมาณ 200 ล้านปีมาแล้วเคยเป็นทะเลมาก่อน เนื่องจากมีการค้นพบฟอสซิลหอยชนิดแอมโมไนต์ แอ่งที่ราบแม่สอดมีภูเขาล้อมรอบเหมือนอยู่ในก้นกระทะ แอ่งที่ราบมีลักษณะเป็นแนวยาว มีแม่น้ำเมยไหลผ่านทางยาวไปตามแนวเขา และมีลักษณะทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีมากมายทั้งตามหุบเขาไม่ไกลนักจากตัวเมืองแม่สอดและบนสองฝั่งตามแนวยาวของแม่น้ำเมย อย่างไรก็ดี แม่สอดมิใช่เมืองเดียวโดดเดี่ยวในแอ่งที่ราบแม่สอด ยังมีอีกหลายเมืองที่ตั้งอยู่บนริมฝั่งแม่น้ำเมย ทั้งพบพระ แม่สอด เมียวดี แม่ระมาด และท่าสองยาง ตามหุบเขาไม่ไกลนักจากตัวเมืองแม่สอด ทั้งที่ดอยมะขามป้อมหนึ่งและสอง ดอยสระกุลี ดอยมณฑา และดอยส้มป่อย บนเส้นทางสายแม่สอด-ตาก มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีมากพอสมควร ทั้งเครื่องใช้ไม้สอยและอาวุธ สันนิษฐานว่าเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและทำกิจกรรมของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และน่าจะเกี่ยวข้องกับเส้นทางเดินทัพของไทยกับพม่าในสมัยอยุธยา
    ขึ้นในสมัยสุโขทัย คำว่า เมืองฉอด ก็ปรากฏเป็นครั้งแรกในสมัยสุโขทัยเช่นกัน มีการกล่าวถึง เมืองฉอด ในศิลาจารึกหลายหลัก อาทิ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงหลักที่หนึ่ง ศิลาจารึกวัดศรีชุม และศิลาจารึกวัดป่ามะม่วงหลักที่ 1 และ 2 แต่
    กรุโบราณซึ่งพบที่บ้านพบพระ ก็เป็นแหล่งโบราณคดีอีกแห่งหนึ่งที่สำคัญ วัตถุโบราณที่พบมีทั้งเครื่องไม้ใช้สอย ทั้งอาวุธและเครื่องประดับสำริด สันนิษฐานว่าเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายของชนชาติไทยจากจีนในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3-4[2] สมัยประวัติศาสตร์ อำเภอแม่สอดเป็นอำเภอที่มีความเป็นมาในประวัติศาสตร์ เป็นเมืองที่มีพระมหากษัตริย์ในอดีตได้เสด็จมาชุมนุมกองทัพที่เมืองนี้แล้วถึง 3 พระองค์ คือ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงชนช้างกับขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกอบอิสรภาพ ณ เมืองแครงและยกทับกลับราชอาณาจักรไทยโดยผ่านดินแดนเมืองตากเป็นแห่งแรก และสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เคยได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองตากและเป็นผู้กอบกู้เอกราชของชาติไทยจากพม่าครั้งที่ 2 ในสมัยสุโขทัย มีซากเมืองโบราณอีกหลายแห่งบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำเมย ทั้งในตัวเมืองแม่สอดและในเมียวดีฝั่งพม่า ที่ตำบลแม่ตื่นและตำบลสามหมื่นในอำเภอแม่ระมาด แต่ละแห่งที่พบนั้นสร้างขึ้นต่างยุคกัน บางแห่งสันนิษฐานว่าสร้า
    งในปัจจุบันยังไม่สามารถพิสูจน์แน่นอนได้ว่า เมืองฉอดอยู่ที่ไหนในแอ่งที่ราบแม่สอด ยังจะต้องอาศัยการสำรวจเพิ่มเติม ที่ว่า เมืองฉอดคือแม่สอดนั้นเป็นเพียงข้อสันนิษฐานเท่านั้น[3] ในสมัยอยุธยา คำว่า "เมืองฉอด" ไม่มีปรากฏในเอกสาร โดยมีการกล่าวถึงด่านแม่ละเมาซึ่งอยู่ในเขตแม่สอด และเป็นเส้นทางเดินทัพของกองทัพพม่า สมัยปัจจุบัน[แก้] อำเภอแม่สอดได้ถูกเสนอชื่อเพื่อยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัดแม่สอดพร้อมกับสี่อำเภอข้างเคียง[4] ที่มาของชื่ออำเภอ[แก้] สำหรับความเป็นมาของชื่อนั้น สันนิษฐานไว้เป็น 3 นัย[ต้องการอ้างอิง] ประการแรก กล่าวกันว่า แม่สอดเป็นเมืองเดียวกันกับ "เมืองฉอด" ซึ่งเป็นเมืองหนึ่งในประวัติศาสตร์ที่ตั้งประชิดชายแดนอาณาจักรสุโขทัย เมืองฉอดมีเจ้าเมืองชื่อพ่อขุนสามชนคำว่า เมืองฉอด เรียกกันนานเข้าอาจเพี้ยนกลายมาเป็น "แม่สอด" ก็เป็นได้ อีกนัยหนึ่งแม่สอดอาจได้ชื่อมาจากชื่อของลำห้วยสายสำคัญที่ไหลผ่านหมู่บ้านนี้ คือ ลำห้วยแม่สอด ส่วนอีกนัยหนึ่งแม่สอดอาจมาจากคำว่า "เหม่ช็อค" ในภาษามอญซึ่งแปลว่าพม่าตาย[ต้องการอ้างอิง]

    สภาพทางภูมิศาสตร์



    ที่ตั้งและอาณาเขต

    แม่สอดตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดตาก ระหว่างเส้นรุ้งที่ 16 องศา 42 ลิปดา 47 พิลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 98 องศา 34 ลิปดา 29 พิลิปดาตะวันออก สูงกว่าระดับน้ำทะเล116.2 เมตร ณ ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอแม่สอด อำเภอแม่สอดมีพื้นที่ประมาณ 1,986.116 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,241,322.5 ไร่ ใหญ่เป็นลำดับที่ 3 ของจังหวัดตาก รองจากอำเภออุ้มผาง และอำเภอสามเงา
    อำเภอแม่สอดมีอาณาเขตติดต่อกับอำเภออื่นในประเทศไทย 3 อำเภอ และ 1 รัฐในประเทศพม่า ดังนี้ ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอพบพระ จังหวัดตาก ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก โดยมีเทือเขาถนนธงชัยเป็นแนวกั้นเขต
    ญ่เป็นภูเขาสูงชันซับซ้อนสลับกับหุบเขาแคบ ๆ ลักษณะภูมิประเทศของอำเภอเป็นที่ราบประม
    ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐกะเหรี่ยง ประเทศพม่า โดยมีแม่น้ำเมยเป็นกั้นพรมแดน ลักษณะภูมิประเทศ อำเภอแม่สอดมีพื้นที่ทั้งสิ้น 1,986.116 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,241,322.50 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.11 ของเนื้อที่จังหวัด (เนื้อที่จังหวัด 16,406,650 ตารางกิโลเมตร) สภาพพื้นส่วนใ
    หาณร้อยละ 20 ของพื้นที่อำเภอ และประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่ปกครองไปด้วยป่าโปร่งป่าดงดิบและป่าสน ภูเขาบริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาถนนธงชัยที่ต่อลงมาจากทางตอนใต้ของจังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดเชียงใหม่ ทอดผ่านจังหวัดตากและอำเภอแม่สอด ลงไปจนเชื่อมต่อกับทิวเขาตะนาวศรี จังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่ลาดเอียงลงไปทางทิศตะวันตกลงสู่แม่น้ำเมยซึ่งกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่า
    สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของอำเภอแม่สอด ตั้งอยู่ในภาคเหนือค่อนไปทางตะวันตกของประเทศไทยประกอบด้วยป่าไม้และเทือกเขาสูง มีพื้นที่ราบสำหรับการเกษตรน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นทิวเขาถนนธงชัยสูงสลับซับซ้อนเป็นตัวแบ่งพื้นที่ออกเป็นฝั่งตากตะวันออก คือ อำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา และอำเภอวังเจ้า ส่วนฝั่งตากตะวันตก คือ อำเภอแม่สอด อำเภอแม่ระมาด อำเภอพบพระ อำเภอท่าสองยาง อำเภออุ้มผาง
    ส่วนที่เป็นที่ราบต่ำถึงเป็นลอนลาด มีความสูงอยู่ระหว่าง 80-200 เมตรจากระดับน้ำทะเล ครอบคลุมเนื้อที่ร้อยละ 16 ของจังหวัด บริเวณที่เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนชันมีความสูงอยู่ระหว่าง 200-300 เมตร ครอบคลุมเนื้อที่ร้อยละ 10.5 ของจังหวัด

    นออกของอำเภอท่าสองยางที่เคยวัดได้ มีความสูง 1,752 เมตร และยอดเขาสูงสุด ทางตะวันออกของอำเภออุ้มผางที่เคยวัดได้มีความสูง 1,898 เมตรจากระดับน้ำทะเล
    มีพื้นที่การเกษตร 346,116 ไร่ พื้นที่ป่าไม้ 1,390,494 ไร่ และพื้นที่อยู่อาศัย 27,6701 ไร่ แหล่งน้ำ
    ตกของไทย ที่มีความยาว 327 ก
    แม่น้ำเมย หรือแม่น้ำต่องยิน นอกจากจะเป็นเส้นกั้นเขตแดนระหว่างชายแดนตะวันออกของพม่ากับแนวชายแดนตะวั
    พื้นที่ที่เหลือเป็นเนินเขาเตี้ยไปจนถึงภูเขาสูง ซึ่งในกลุ่มนี้ มีพื้นที่ที่มีความสูงระหว่าง 300-700 เมตรจากระดับน้ำทะเลอยู่ร้อยละ 34.8 ของจังหวัด และมีความสูงมากกว่า 700-2,200 เมตร อยู่ร้อยละ 38.4 ของจังหวัด ยอดเขาสูงสุดทางตะ
    วัโลเมตร มีต้นน้ำอยู่ที่บ้านมอเกอ ตำบลพบพระ อำเภอพบพระ และไหลย้อนขึ้นไปทางทิศเหนือ ผ่านอำเภอท่าสองยางไปถึงแม่ฮ่องสอน ก่อนจะไหลลงสู่แม่น้ำสาละวิน ห้วยแม่สอด ห้วยหัวฝาย ห้วยแห้ง ห้วยแม่ตาว ห้วยม่วง อ่างเก็บน้ำบ้านหัวฝาย อ่างเก็บน้ำบ้านห้วยลึก ลักษณะทางธรณีวิทยา[แก้]

    ไทรแอสซิกเป็นยุคแรกของมหายุคมีโซโซอิก อยู่หลังยุคเพอร์เมียนและอยู่หน้ายุคจูแรสซิก จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดยุคไทรแอสซิกกำหนดจากเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์มากมาย ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวสามารถกำหนดจากชั้นหินได้แน่นอน แต่ช่วงเวลาที่เกิดขึ้นยังไม่สามารถระบุได้ละเอียดจริง ๆ มีค่าความผิดพลาดได้หลายล้านปี
    ลักษณะภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา[แก้] แผนภูมิแสดงลักษณะภูมิอากาศในรอบปี ของแม่สอด ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 3.5 3114 5.3 3416 6 3620 35 3723 179 3424 257 3123 305 3023 354 3023 174 3123 108 3222
    2
    กลุ่มหินของยุคไทรแอสซิกบริเวณแม่สอดนั้นเคยแบ่งเป็น กลุ่มหินลำปาง แต่จากการศึกษาเพิ่มเติมในปัจจุบันได้แยกออกเป็น 2 หน่วย แต่ไม่มีรายละเอียดเหมือนกับยุคจูแรสซิก โดยยุคไทรแอสซิก เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก ตรงกับช่วงเวลาประมาณ 251 ? 0.4 ถึง 199.6 ? 0.6 ล้านปีก่อน ยุ
    ค1 3119 3 3015 อุณหภูมิ วัดเป็นองศาเซลเซียส • ปริมาณหยาดน้ำฟ้า วัดเป็นมิลลิเมตร ที่มา: อุณหภูมิและปริมาณฝนแม่สอดค่าเฉลี่ย30ปี[5] แสดงข้อมูลเป็นมาตราอังกฤษ[แสดง] อำเภอแม่สอดมีสภาพภูมิประเทศ มีเทือกเขาถนนธงชัยเป็นตัวปะทะมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย และทะเลอันดามัน จึงรับอิทธิพลจากลมมรสุมมากกว่าจังหวัดตากฝั่งตะวันออกทำให้ปริมาณฝนตก โดยเฉพาะในพื้นที่ที่อยู่ในเขตภูเขา เช่นนี้อากาศจะหนาวเย็นมาก ปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยของพื้นที่ ระหว่างปี 2535-2544 จะอยู่ในช่วง 651.10 มม.ถึง 1,556.30 มม. ฝนตกมากที่สุดในปี 2542 วัดได้ถึง 1,556.30 มม.จำนวนวันฝนตก 154 วัน ส่วนฝนตกน้อยที่สุด ในปี 2535 วัดได้ 651.10 มม. จำนวนวันฝนตก 74 วัน อุณหภูมิ

    ำบล 88 หมู่บ้าน 3 เทศบาล 9 องค์การบริหารส่วนตำบล 33 ชุมชน
    การปกครองส่วนภูมิภาค
    9 อำเภอที่อยู่ในเขตการปกครองของจังหวัดตาก อำเภอแม่สอดเป็นหน่วยการบริหารราชการ การปกครองส่วนภูมิภาค ที่มีฐานะเป็นอำเภอที่ได้รับการจัดตั้งมายาวนาน ซึ่งมีอายุ 111 ปี ในปี พ.ศ. 2551 แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเ
    อำเภอแม่สอดเป็น 1 ใน
    ในช่วงระหว่างปี 2535-2544 พื้นที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี มีค่าอยู่ในช่วง 25.00 องศาเซลเซียส ถึง 40.00 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำที่สุดค่าเฉลี่ยปานกลาง 5.00 องศาเซลเซียสถึง 20.23 โดยอุณหภูมิสูงสุดวัดได้ 44.1 องศาเซลเซียส เมื่อเดือนมีนาคม 2506 อุณหภูมิต่ำสุดอยู่ที่ 4.5 องศาเซลเซียส เมื่อ 26 ธันวาคม 2542[6] ความชื้นสัมพัทธ์ ในช่วงระหว่างปี 2539 - 2543 พื้นที่มีความชื้นเฉลี่ยตลอดปี มีค่าอยู่ในช่วง 69 เปอร์เซ็นต์ ถึง 75 เปอร์เซ็นต์ความชื้นเฉลี่ยต่ำสุดอยู่ในช่วง 43 เปอร์เซ็นต์ ถึง 53 เปอร์เซ็นต์โดยความชื้นเฉลี่ยต่ำสุดที่วัดได้เมื่อปี 2541 และ ความชื้นสูงสุดอยู่ในช่วง 95 เปอร์เซ็นต์ ถึง 96 เปอร์เซ็นต์ การเมืองการปกครอง การปกครองปัจจุบันแบ่งออกเป็น 1 อำเภอ 10
    ตป็น 10 ตำบล 88 หมู่บ้าน อำเภอแม่สอดแบ่งเขตการปกครองระดับท้องที่ในระดับตำบลออกเป็น 10 ตำบล ประกอบด้วย 1. ตำบลแม่สอด (Mae Sot) 6. ตำบลท่าสายลวด (Tha Sai Luat) 2. ตำบลแม่กุ (Mae Ku) 7. ตำบลแม่ปะ (Mae Pa) 3. ตำบลพะวอ (Phawo) 8. ตำบลมหาวัน (Mahawan) 4. ตำบลแม่ตาว (Mae Tao) 9. ตำบลด่านแม่ละเมา (Dan Mae Lamao) 5. ตำบลแม่กาษา (Mae Kasa) 10. ตำบลพระธาตุผาแดง (Phra That Pha Daeng) การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้] เทศบาล ปัจจุบันอำเภอแม่สอดมีเทศบาล 2 ขนาด รวมทั้งสิ้น 4 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลนครแม่สอด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่สอดทั้งตำบล เทศบาลตำบลแม่กุ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางส่วนของตำบลแม่กุ เทศบาลตำบลท่าสายลวด ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลท่าสายลวด เทศบาลตำบลแม่ตาว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่ตาวทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอแม่สอดมีองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งสิ้น 8 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ปะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่ปะทั้งตำบล

    คลังและการธนาคาร

    สถาบันการเงินและธนาคารในเมืองแม่สอดที่เปิดบัญชีกับผู้แทนธนาคา
    องค์การบริหารส่วนตำบลแม่กุ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่กุ เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลแม่กุ องค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุผาแดง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพระธาตุผาแดงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลพะวอ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพะวอทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลมหาวัน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลมหาวันทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลแม่กาษา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแม่กาษาทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลด่านแม่ละเมา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลด่านแม่ละเมาทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสายลวด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าสายลวด เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลท่าสายลวด โครงการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งใหม่ เป็นโครงการจัดตั้งเทศบาลตำบลใหม่อีก 1 แห่ง และโครงการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 1 แห่ง เทศบาลตำบลพระธาตุผาแดง เป็นโครงการจัดตั้งแยกออกจากองค์การบริหารส่วนตำบลพระธาตุผาแดง ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลพระธาตุผาแดง นครแม่สอด เป็นโครงการยุบรวมเทศบาลนครแม่สอด และเทศบาลตำบลท่าสายลวด เข้าไว้ด้วยกันเป็น อปท.รูปแบบพิเศษ เศรษฐกิจ การเงินกา
    รรแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีจำนวน 22 แห่ง ซึ่งมีรายชื่อและสาขา ดังนี้[7] ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส แม่สอด ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า แม่สอด ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สาขาถนนอินทรคีรี แม่สอด ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า แม่สอด ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาย่อย ตลาดพาเจริญ แม่สอด ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาย่อย เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า แม่สอด ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส แม่สอด ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า แม่สอด ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขาแม่สอด ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สาขาเทสโก้ โลตัส เอ็กซ์ตร้า แม่สอด ธนาคารออมสิน สาขาแม่สอด ธนาคารออมสิน สาขา ตลาดพาเจริญ แม่สอด
    นมปังกรอบทุกชนิด หมากฝรั่ง ขนมเ
    ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สาขาแม่สอด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) สาขาแม่สอด ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขาแม่สอด ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย สาขาเมก้าโฮม แม่สอด การค้าขายชายแดนไทย-พม่า ตลาดริมเมย มูลค้าการค้าขาย ไทยกับพม่าที่มีมูลค่าสูงกว่า 15,000-20,000 ล้านบาทต่อปี[8] ผ่านกระบวนการขนส่งลำเลียงแบบดั้งเดิมที่ทั้งใช้คนขนข้าม เรือเล็ก หรือแม้แต่ยางในรถยนต์ขนาดใหญ่ที่เพียงแค่ใช้ไม้กระดานพาดทับ ก็สามารถบรรทุกของถ่อข้ามน้ำเมยได้ แทบจะไม่ต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีใดๆ เข้ามาช่วย โดยบริเวณ 2 ฝั่งแม่น้ำเมยทั้งทางด้านเหนือ-ใต้ สะพานมิตรภาพไทย-พม่าฯ ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00 น.ของทุกวัน จะคลาคล่ำไปด้วยกรรมกรชาวพม่า ทำหน้าที่คอยแบกและขนสินค้า จากฝั่งไทยลงเรือไปพม่า หรือจากพม่าลงเรือข้ามมาส่งให้กับผู้ซื้อในฝั่งไทยต่อเนื่องไม่มีหยุด รวมถึงบางครั้งหลัง 18.00 น.ไปแล้ว ก็อาจจะมีกองทัพมดคอยขนสินค้าข้ามฝั่งเกิดขึ้นได้เช่นกัน สินค้าต้องห้าม สินค้า 15 รายการที่กระทรวงพาณิชย์พม่าประกาศห้ามนำเข้าตามประกาศฉบับที่ 9/99 คือ ผงชูรส น้ำหวาน เครื่องดื่ม
    ขค้ก ขนมเวเฟอร์ ช็อกโกแลต อาหารกระป๋อง เส้นหมี่ทุกชนิด เหล้า บุหรี่ เบียร์ ผลไม้สดทุกชนิด ผลิตภัณฑ์พลาสติกทั้งที่ใช้ในครัวเรือนและใช้ส่วนตัวทุกชนิด รวมถึงสินค้าควบคุมการนำเข้าโดยกฎหมายที่มีอยู่แล้ว บางประเภทตั้งกำแพงภาษีสูงกว่า 80% หรือเกิน 100% นอกจากนี้ยังเป็นการหลีกเลี่ยงข้อกำหนดของพม่า ที่อนุมัติให้นำเข้าสินค้าตามมูลค่าที่ส่งออกเท่านั้น ซึ่งแม้ในระยะนี้จะผ่อนคลายกฎระเบียบผ่านช่องทางกำหนดพิกัดภาษี ด้วยการกำหนดให้เสียภาษี 2 ระดับ คือสินค้านำเข้าตามมูลค่า ส่งออกที่ให้เสียภาษีในระดับต่ำกับสินค้านำเข้าที่ไม่มีการส่งออก ให้เสียภาษีสูงก็ตาม กอปรกับสะพานมิตรภาพไทย-พม่าฯ ยังมีปัญหาการห้ามรถบรรทุกขนาดใหญ่วิ่ง เนื่องจากตัวสะพานชำรุดอีกด้วย